www.chakkham.ac.th/.../24-05-2015_บัณฑิตา%20เลขที่%207.doc ได้กล่าวถึงเทคโนโลยีการศึกษาของแลนตาสเตอร์
Joseph Lancaster (1778-1838) ได้ริเริ่มการสอนระบบพี่เลี้ยง (Monitor System) อันยังผลให้เขาประสบความสำเร็จในการจัดการศึกษาในยุคนั้น วิธีการของเขาก็คือ การจัดสภาพห้องเรียนและดำเนินการสอนแบบประหยัด รวมถึงการจัดระบบเนื้อหาวิชาที่เรียนโดยพิจารณาถึงระดับชั้น สำหรับการสอนนักเรียนเป็นชั้นหรือเป็นกลุ่ม แนวคิดของเขาได้รับอิทธิพลมาจากคอมินิอุส และวิธีการของพระเยซูคริสต์ จึงทำให้เขาศึกษาการเลือกใช้สื่อที่มีประสิทธิภาพในการเรียนการสอน วิธีการของเขารู้จักกันในนามของ Lancaster's Method และจัดว่าเป็นรากฐานสำคัญของระบบทฤษฎีการเรียนรู้อีกด้วย แนวคิดของเขานอกจากจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลทางแนวคิดของคอมินิอุสดังกล่าวมาแล้ว เขายังยอมรับแนวคิดของ John Locke ซึ่งกำลังมีชื่อเสียงโด่งดังอยู่ในขณะนั้นด้วย
วิธีการสอนของแลนคาสเตอร์ พยายามใช้วัสดุอุปกรณ์ราคาถูกและประหยัด แม้แต่ห้องเรียนก็จุนักเรียนได้มากกว่า วัสดุที่ใช้ เช่น กระดานชนวน กระบะทราย แผนภูมิ ผนังและกระดานดำ ทำให้ประหยัดกระดาษและหมึกได้มากกว่า และนอกจากนั้นทางโรงเรียนยังจัดหนังสือที่ใช้เรียนให้น้อยที่สุดเท่าที่จำเป็นอีกด้วย ดังนั้นวิธีการของเขาจึงเป็นการริเริ่มการสอนแบบมวลชน และเป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษาแบบให้เปล่าของรัฐในเวลาต่อมาด้วย
วิธีสอนของแลนคาสเตอร์ มีรายละเอียดที่สำคัญอยู่ 6 ประการ คือ
1.การสอนความจำด้วยการท่องจำเนื้อหา
2.การฝึกแบบมีพี่เลี้ยง
3.การควบคุม
4.การจัดกลุ่ม
5.การทดสอบ
6.การจัดดำเนินการหรือบริหาร
ภายใต้การจัดดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ ครูคนหนึ่ง ๆ จะสามารถสอนกลุ่มหัวหน้านักเรียนได้ถึง 50 คน (หัวหน้านักเรียนคือพี่เลี้ยง) และหัวหน้านักเรียนแต่ละคนจะสามารถฝึกนักเรียนได้ 10 คน ดังนั้นครูคนหนึ่ง ๆ ก็จะสามารถสอนนักเรียนจำนวน 500 คนหรือมากกว่านั้นได้ในเวลาเดียวกัน วิธีนี้ได้ปฏิบัติต่อกันมา จนกระทั่งค้นพบวิธีสอนแบบแก้ปัญหา (Problem Solving) ในภายหลัง
Joseph Lancaster (1778-1838) ได้ริเริ่มการสอนระบบพี่เลี้ยง (Monitor System) อันยังผลให้เขาประสบความสำเร็จในการจัดการศึกษาในยุคนั้น วิธีการของเขาก็คือ การจัดสภาพห้องเรียนและดำเนินการสอนแบบประหยัด รวมถึงการจัดระบบเนื้อหาวิชาที่เรียนโดยพิจารณาถึงระดับชั้น สำหรับการสอนนักเรียนเป็นชั้นหรือเป็นกลุ่ม แนวคิดของเขาได้รับอิทธิพลมาจากคอมินิอุส และวิธีการของพระเยซูคริสต์ จึงทำให้เขาศึกษาการเลือกใช้สื่อที่มีประสิทธิภาพในการเรียนการสอน วิธีการของเขารู้จักกันในนามของ Lancaster's Method และจัดว่าเป็นรากฐานสำคัญของระบบทฤษฎีการเรียนรู้อีกด้วย แนวคิดของเขานอกจากจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลทางแนวคิดของคอมินิอุสดังกล่าวมาแล้ว เขายังยอมรับแนวคิดของ John Locke ซึ่งกำลังมีชื่อเสียงโด่งดังอยู่ในขณะนั้นด้วย
วิธีการสอนของแลนคาสเตอร์ พยายามใช้วัสดุอุปกรณ์ราคาถูกและประหยัด แม้แต่ห้องเรียนก็จุนักเรียนได้มากกว่า วัสดุที่ใช้ เช่น กระดานชนวน กระบะทราย แผนภูมิ ผนังและกระดานดำ ทำให้ประหยัดกระดาษและหมึกได้มากกว่า และนอกจากนั้นทางโรงเรียนยังจัดหนังสือที่ใช้เรียนให้น้อยที่สุดเท่าที่จำเป็นอีกด้วย ดังนั้นวิธีการของเขาจึงเป็นการริเริ่มการสอนแบบมวลชน และเป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษาแบบให้เปล่าของรัฐในเวลาต่อมาด้วย
วิธีสอนของแลนคาสเตอร์ มีรายละเอียดที่สำคัญอยู่ 6 ประการ คือ
1.การสอนความจำด้วยการท่องจำเนื้อหา
2.การฝึกแบบมีพี่เลี้ยง
3.การควบคุม
4.การจัดกลุ่ม
5.การทดสอบ
6.การจัดดำเนินการหรือบริหาร
ภายใต้การจัดดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ ครูคนหนึ่ง ๆ จะสามารถสอนกลุ่มหัวหน้านักเรียนได้ถึง 50 คน (หัวหน้านักเรียนคือพี่เลี้ยง) และหัวหน้านักเรียนแต่ละคนจะสามารถฝึกนักเรียนได้ 10 คน ดังนั้นครูคนหนึ่ง ๆ ก็จะสามารถสอนนักเรียนจำนวน 500 คนหรือมากกว่านั้นได้ในเวลาเดียวกัน วิธีนี้ได้ปฏิบัติต่อกันมา จนกระทั่งค้นพบวิธีสอนแบบแก้ปัญหา (Problem Solving) ในภายหลัง
วิธีการสอนแบบครูพี่เลี้ยงเป็นวิธีสอนที่ใช้กับนักเรียนกลุ่มเล็กจำนวน 1-5 คน ขั้นการสอนแบ่งเป็น 3 ขั้น คือ
1. ขั้นนำ
2. ขั้นศึกษาค้นคว้าหรือขั้นเรียนรู้
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
http://sci.uru.ac.th/documents2011/technic153.pdf ได้กล่าวถึง การสอนแบบ Tutorial Group
การสอนแบบ Tutorial Group เป็นการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาของรายวิชา ซึ่งมีผู้บรรยายก่อนหรือผู้เรียนได้รับมอบหมายให้ไปศึกษามาก่อนโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ในการแก้ไขปัญหา โดยผู้สอนเป็นผู้แนะ กำกับ ควบคุม และตรวจสอบ เน้นพฤติกรรมให้นักศึกษา
มีการฝึกซ้ำการสื่อสารโดยให้นักศึกษามีบทบาทในทบทวนจากกลุ่มหรือเพื่อเรียนเพิ่มเติม
https://photimont.files.wordpress.com/.../e0b881e0b8a5e0b8b8e0b988e ได้กล่าวถึง ขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้
http://sci.uru.ac.th/documents2011/technic153.pdf ได้กล่าวถึง การสอนแบบ Tutorial Group
การสอนแบบ Tutorial Group เป็นการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาของรายวิชา ซึ่งมีผู้บรรยายก่อนหรือผู้เรียนได้รับมอบหมายให้ไปศึกษามาก่อนโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ในการแก้ไขปัญหา โดยผู้สอนเป็นผู้แนะ กำกับ ควบคุม และตรวจสอบ เน้นพฤติกรรมให้นักศึกษา
มีการฝึกซ้ำการสื่อสารโดยให้นักศึกษามีบทบาทในทบทวนจากกลุ่มหรือเพื่อเรียนเพิ่มเติม
https://photimont.files.wordpress.com/.../e0b881e0b8a5e0b8b8e0b988e ได้กล่าวถึง ขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้
1. ขั้นนำ เป็นการสร้างบรรยายกาศและสมาชิกของผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเรียนการสอน
การจัดสถานที่ การแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อย แนะนำวิธีดำเนินการสอน
กติกาหรือกฎเกณฑ์การทำงาน ระยะเวลาในการทำงาน
2. ขั้นศึกษาและเรียนรู้
ผู้เรียนร่วมกันศึกษาหาความรู้ และรับคำปรึกาษาและคำแนะนำจากครูผู้สอน
3. ขั้นสรุปผลและประเมินผล เป็นการประเมินผลว่า
ผู้เรียนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายมากน้อยเพียงใด
โดยจะประเมินทั้งด้านเนื้อหาวิชาและด้านกลุ่มสัมพันธ์ ได้แก่ ประเมินด้านมนุษยสัมพันธ์
ผลสัมฤทธิ์ของกลุ่ม เช่น ผลการทำงาน ความสามัคคี คุณธรรมหรือค่านิยมของกลุ่ม
ประเมินความสัมพันธ์ในกลุ่มจากการให้สมาชิกติชม หรือวิจารณ์แก่กันโดยปราศจากอคติ
จะทำให้ผู้เรียนสามารถประเมินตนเองได้ และผู้สอนเข้าใจผู้เรียนได้
อันจะทำให้ผู้เรียนผู้สอนเข้าใจปัญหาซึ่งกันและกันสรุป
Joseph Lancaster (1778-1838) ได้ริเริ่มการสอนระบบพี่เลี้ยง (Monitor System) อันยังผลให้เขาประสบความสำเร็จในการจัดการศึกษาในยุคนั้น วิธีการของเขาก็คือ การจัดสภาพห้องเรียนและดำเนินการสอนแบบประหยัด รวมถึงการจัดระบบเนื้อหาวิชาที่เรียนโดยพิจารณาถึงระดับชั้น สำหรับการสอนนักเรียนเป็นชั้นหรือเป็นกลุ่ม แนวคิดของเขาได้รับอิทธิพลมาจากคอมินิอุส และวิธีการของพระเยซูคริสต์ จึงทำให้เขาศึกษาการเลือกใช้สื่อที่มีประสิทธิภาพในการเรียนการสอน วิธีการของเขารู้จักกันในนามของ Lancaster's Method และจัดว่าเป็นรากฐานสำคัญของระบบทฤษฎีการเรียนรู้
วิธีสอนของแลนคาสเตอร์ มีรายละเอียดที่สำคัญอยู่ 6 ประการ คือ
1.การสอนความจำด้วยการท่องจำเนื้อหา
2.การฝึกแบบมีพี่เลี้ยง
3.การควบคุม
4.การจัดกลุ่ม
5.การทดสอบ
6.การจัดดำเนินการหรือบริหาร
ภายใต้การจัดดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ ครูคนหนึ่ง ๆ จะสามารถสอนกลุ่มหัวหน้านักเรียนได้ถึง 50 คน (หัวหน้านักเรียนคือพี่เลี้ยง) และหัวหน้านักเรียนแต่ละคนจะสามารถฝึกนักเรียนได้ 10 คน ดังนั้นครูคนหนึ่ง ๆ ก็จะสามารถสอนนักเรียนจำนวน 500 คนหรือมากกว่านั้นได้ในเวลาเดียวกัน วิธีนี้ได้ปฏิบัติต่อกันมา จนกระทั่งค้นพบวิธีสอนแบบแก้ปัญหา (Problem Solving) ในภายหลัง
วิธีการสอนแบบครูพี่เลี้ยงเป็นวิธีสอนที่ใช้กับนักเรียนกลุ่มเล็กจำนวน 1-5 คน ขั้นการสอนแบ่งเป็น 3 ขั้น คือ
1. ขั้นนำ เป็นการสร้างบรรยายกาศและสมาชิกของผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเรียนการสอน การจัดสถานที่ การแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อย แนะนำวิธีดำเนินการสอน กติกาหรือกฎเกณฑ์การทำงาน ระยะเวลาในการทำงาน
2. ขั้นศึกษาและเรียนรู้ ผู้เรียนร่วมกันศึกษาหาความรู้ และรับคำปรึกาษาและคำแนะนำจากครูผู้สอน
3. ขั้นสรุปผลและประเมินผล เป็นการประเมินผลว่า ผู้เรียนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายมากน้อยเพียงใด โดยจะประเมินทั้งด้านเนื้อหาวิชาและด้านกลุ่มสัมพันธ์ ได้แก่ ประเมินด้านมนุษยสัมพันธ์ ผลสัมฤทธิ์ของกลุ่ม เช่น ผลการทำงาน ความสามัคคี คุณธรรมหรือค่านิยมของกลุ่ม ประเมินความสัมพันธ์ในกลุ่มจากการให้สมาชิกติชม หรือวิจารณ์แก่กันโดยปราศจากอคติ จะทำให้ผู้เรียนสามารถประเมินตนเองได้ และผู้สอนเข้าใจผู้เรียนได้ อันจะทำให้ผู้เรียนผู้สอนเข้าใจปัญหาซึ่งกันและกัน
ที่มา
http://www.neric-club.com/data.php?page=24&menu_id=76 . รูปแบบการสอนโดยใช้ครูพี่เลี้ยง. เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2558.
www.chakkham.ac.th/.../24-05-2015_บัณฑิตา%20เลขที่%207.doc. ระบบพี่เลี้ยง. เข้าถึงเมื่อ 13 สิงหาคม 2558.
http://sci.uru.ac.th/documents2011/technic153.pdf. การสอนแบบ Tutorial Group. เข้าถึงเมื่อ 5 กันยายน 2558.
https://photimont.files.wordpress.com/.../e0b881e0b8a5e0b8b8e0b988e. Group Process. เข้าถึงเมื่อ 5 กันยายน 2558.